Blog Master

My photo
Bangkok, Thailand ชีวิตนี้น้อยนัก แต่สำคัญนัก This present life is so miniscule in scope and so small Lives of all kinds whether humans or animals do not exist only in the present existence, but they also have past and future ones. This short life means that the present existence is a bit brief and so miniscule. Life , of course, is subject to ageing . The present existence of each individual does not exceed one hundred years in terms of the average age. It is a very short period when compared with the past uncountable existences and those in the future. When the sages or learned persons utter that this present life is so unfocused , they are comparing it with past and future uncountable existences . Those people of incomplete understanding can not be delivered from suffering
.......................................................................................................................................BuddhistRhythm .....................................................................................................................................................................................เพลงระฆังธรรม.................. ...................................................................................................................คำร้อง / ทำนอง : พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา ........................................................................................ขับร้อง : ชินกร ไกรลาศ .........................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา................................................. สาธุชนเจ้าข้า................................................ได้ยินระฆังหรือเปล่า ....................................................................ระฆังเสียงเย็น พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา............................................................. ปุถุชนที่ร้อนเร่า............................... ก็ยังคงเร่าคงร้อน................................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงลอย................ เหมือนไล่ความทรามถ่อย .......................................................ที่คอยผลาญใจคนกร่อน................................................. วัดวาเหงาไป .............เพราะคนห่างไกลเหมือนตัดรอน........................................ เสียงสวดโหยโรยอ่อน..................................... หนุ่มสาวง่วงนอน ไม่อยากฟัง.......................................................... มี..แต่..คนแก่............................ตั้งใจแน่นิ่งสดับ ...................................................ซึ้งพระธรรมสงบระงับ ..........................................ดับเพลิงโลกีย์พ่ายพัง................................................................ สืบกาลต่อไป ...........................คิดแล้วหัวใจช่างเหงาจัง ............................หนุ่มๆสาวๆรุ่นหลัง ..................................จะมีใครฟังพระเทศน์กันเล่า ............................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา .........................สาธุชนเจ้าข้า................ได้ยินระฆังหรือเปล่า......................................................... ระฆังเสียงเย็น .............พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา .....................พลิ้วแผ่วมาเบาๆ ...................เสียงพระคุณเจ้าท่านสวดมนต์.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา................................................. สาธุชนเจ้าข้า................................................ได้ยินระฆังหรือเปล่า ....................................................................ระฆังเสียงเย็น พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา............................................................. พลิ้วแผ่วมาเบาๆ ........เสียงพระคุณเจ้าท่านสวดมนต์ ..................... .......

Thai Buddhist

"การทำบุญจะต้องใช้เงินกันมากๆ ยิ่งทำมากยิ่งได้บุญมาก ความเชื่อเช่นนี้นับว่าไกลจากพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างน่าเป็นห่วง ในการทำบุญที่แท้ตามหลักพระพุทธศาสนานั้น แม้ไม่ใช้เงินเลย ไม่มีเงินเลย ทุกคนก็มีสิทธิทำบุญหรือเข้าถึงบุญได้อย่างทัดเทียมกันและบุญสูงสุดก็คือบำเพ็ญจิตภาวนาเพื่อให้เกิด ปัญญา การทำบุญจึงต้องมาเชื่อมกับ ปัญญา เสมอ และเราจะเห็นได้จากมรรควิธี ในการทำบุญ ต่อไปนี้

มรรควิธีในการทำบุญ ๑๐

1. ทำบุญด้วยการ "แบ่งปัน" วัตถุ สิ่งของ ปัจจัยสี่

2. ทำบุญด้วยการ "รักษาศีล"

3. ทำบุญด้วยการ "เจริญจิตภาวนา"

4. ทำบุญด้วยการ "อ่อนน้อมถ่อมตน"

5. ทำบุญด้วยการ "เสียสละช่วยงานคนอื่น บริการสังคม"

6. ทำบุญด้วยการ "เฉลี่ยความดีให้คนอื่นได้ชื่นชม"

7. ทำบุญด้วยการ "อนุโมทนา ชื่นชมความสุข ความก้าวหน้าของคนอื่น"

8. ทำบุญด้วยการ "ฟังธรรม ศึกษาหาความรู้ที่มีสารประโยชน์ต่อชีวิต"

9. ทำบุญด้วยการ "แสดงธรรม แจกจ่ายธรรมทาน วิทยาทาน"

10. ทำบุญด้วยการ "มีสัมมาทัศนะ เชื่อกฏแห่งกรรม เชื่อตามหลักเหตุผล"





Monday, December 6, 2010

สร้างโรงพยาบาลสงฆ์แห่งที่สอง attenttion please..the second priest-hospital is buliding

ขอเชิญเป็นเจ้าภาพสมทบทุน

มูลนิธิโรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ ขอเชิญเป็นเจ้าภาพสมทบทุนสร้างโรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ (โรงพยาบาลสงฆ์และเพื่อประชาชน) เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มีรายระเอียดดังนี้

๑.      ห้องเดี่ยว (VIP) จำนวน 10 ห้อง ห้องละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท (จารึกชื่อหน้าห้อง)
๒.    ห้องรวม จำนวน ๖ เตียง ราคา ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท(จารึกชื่อหน้าห้อง)
๓.     ห้องผู้ป่วยหนัก (ICU) จำนวน ๗ เตียง ราคา ๑,๔๐๐,๐๐๐ บาท (จารึกชื่อหน้าห้อง)
๔.     อาคารพักพยาบาล ๒๐ ห้อง ๓ ชั้น จำนวน ๑ อาคาร ราคา ๕,๓๐๐,๐๐๐ บาท (จารึกชื่อหน้าอาคาร)
๕.     วิหารพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ (๒ ชั้น) ราคา ๕,๕๑๒,๙๐๐ บาท (จารึกชื่อหน้าวิหาร)
๖.      อาคารพักฟื้นและปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์อาพาธ จำนวน ๑ หลัง ราคา ๒๓,๖๑๖,๐๐๐ บาท (จารึกชื่อหน้าอาคาร)
๗.     ที่พักผู้ปฎิบัติธรรม(กุฎิ) จำนวน ๑ หลัง ราคา ๔,๙๖๐,๐๐๐ บาท
๘.     รั้วล้อมรอบพื้นที่สวนสมุนไพร เฉลิมพระเกียรติ ราคา ๒,๑๖๐,๖๐๐ บาท
๙.      บริจาคเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (จารึกชื่อที่ตึกผู้ป่วย)
๑๐. เช่าบูชาพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุทิศ (เนื้อโลหะ ปิดทอง) ขนาดหน้าตัก ๕ นิ้ว สูง ๗ นิ้ว องค์ละ ๓,๙๙๙ บาท
๑๑.      อาคารพิพิธภัณฑ์สมุนไพรแห่งชาติ (๒ ชั้น) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑๐ ล้านบาท
๑๒.     อาคารวิจัยสมุนไพร (๓ ชั้น) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑๕ ล้านบาท ประกอบด้วย
          -  วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพและเวชศาสตร์
          -  ผลิตและแปรรูปสมุนไพร ระดับอุตสาหกรรม
๑๓.      อาคารพัฒนาแพทย์แผนไทย (๒ ชั้น) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑๐ ล้านบาท
๑๔.      อาคารพัฒนาวัตถุดิบสมุนไพร (๒ ชั้น) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑๐ ล้านบาท
๑๕.      อาคารแสดง/จำหน่ายยาไทยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (๒ ชั้น) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑๐ ล้านบาท ประกอบด้วย
          - แสดงและจำหน่ายสินค้า    
          - เก็บสต๊อกสินค้าสำเร็จรูป
๑๖.      อาคารพักเจ้าหน้าที่ (๒ หลัง) ใช้งบประมาณดำเนินการ ๕ ล้านบาท
๑๗.     เตียงนอนลม ๕๐๐,๐๐๐ บาท

มูลนิธิโรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ
1648 อาคารมหาเจษฎาบดินทร์ วัดยานนาวา ถ.เจริญกรุง ข.สาธร กทม. 10120
โทร.0-2673-9940-3 ,โทรสาร.0-2673-9941, อีเมล์
:info@50amfh.org

No comments: