Blog Master

My photo
Bangkok, Thailand ชีวิตนี้น้อยนัก แต่สำคัญนัก This present life is so miniscule in scope and so small Lives of all kinds whether humans or animals do not exist only in the present existence, but they also have past and future ones. This short life means that the present existence is a bit brief and so miniscule. Life , of course, is subject to ageing . The present existence of each individual does not exceed one hundred years in terms of the average age. It is a very short period when compared with the past uncountable existences and those in the future. When the sages or learned persons utter that this present life is so unfocused , they are comparing it with past and future uncountable existences . Those people of incomplete understanding can not be delivered from suffering
.......................................................................................................................................BuddhistRhythm .....................................................................................................................................................................................เพลงระฆังธรรม.................. ...................................................................................................................คำร้อง / ทำนอง : พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา ........................................................................................ขับร้อง : ชินกร ไกรลาศ .........................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา................................................. สาธุชนเจ้าข้า................................................ได้ยินระฆังหรือเปล่า ....................................................................ระฆังเสียงเย็น พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา............................................................. ปุถุชนที่ร้อนเร่า............................... ก็ยังคงเร่าคงร้อน................................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงลอย................ เหมือนไล่ความทรามถ่อย .......................................................ที่คอยผลาญใจคนกร่อน................................................. วัดวาเหงาไป .............เพราะคนห่างไกลเหมือนตัดรอน........................................ เสียงสวดโหยโรยอ่อน..................................... หนุ่มสาวง่วงนอน ไม่อยากฟัง.......................................................... มี..แต่..คนแก่............................ตั้งใจแน่นิ่งสดับ ...................................................ซึ้งพระธรรมสงบระงับ ..........................................ดับเพลิงโลกีย์พ่ายพัง................................................................ สืบกาลต่อไป ...........................คิดแล้วหัวใจช่างเหงาจัง ............................หนุ่มๆสาวๆรุ่นหลัง ..................................จะมีใครฟังพระเทศน์กันเล่า ............................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา .........................สาธุชนเจ้าข้า................ได้ยินระฆังหรือเปล่า......................................................... ระฆังเสียงเย็น .............พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา .....................พลิ้วแผ่วมาเบาๆ ...................เสียงพระคุณเจ้าท่านสวดมนต์.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เหง่งหง่างระฆังวังเวงมา................................................. สาธุชนเจ้าข้า................................................ได้ยินระฆังหรือเปล่า ....................................................................ระฆังเสียงเย็น พระธรรมแผ่เห็นเป็นร่มเงา............................................................. พลิ้วแผ่วมาเบาๆ ........เสียงพระคุณเจ้าท่านสวดมนต์ ..................... .......

Thai Buddhist

"การทำบุญจะต้องใช้เงินกันมากๆ ยิ่งทำมากยิ่งได้บุญมาก ความเชื่อเช่นนี้นับว่าไกลจากพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างน่าเป็นห่วง ในการทำบุญที่แท้ตามหลักพระพุทธศาสนานั้น แม้ไม่ใช้เงินเลย ไม่มีเงินเลย ทุกคนก็มีสิทธิทำบุญหรือเข้าถึงบุญได้อย่างทัดเทียมกันและบุญสูงสุดก็คือบำเพ็ญจิตภาวนาเพื่อให้เกิด ปัญญา การทำบุญจึงต้องมาเชื่อมกับ ปัญญา เสมอ และเราจะเห็นได้จากมรรควิธี ในการทำบุญ ต่อไปนี้

มรรควิธีในการทำบุญ ๑๐

1. ทำบุญด้วยการ "แบ่งปัน" วัตถุ สิ่งของ ปัจจัยสี่

2. ทำบุญด้วยการ "รักษาศีล"

3. ทำบุญด้วยการ "เจริญจิตภาวนา"

4. ทำบุญด้วยการ "อ่อนน้อมถ่อมตน"

5. ทำบุญด้วยการ "เสียสละช่วยงานคนอื่น บริการสังคม"

6. ทำบุญด้วยการ "เฉลี่ยความดีให้คนอื่นได้ชื่นชม"

7. ทำบุญด้วยการ "อนุโมทนา ชื่นชมความสุข ความก้าวหน้าของคนอื่น"

8. ทำบุญด้วยการ "ฟังธรรม ศึกษาหาความรู้ที่มีสารประโยชน์ต่อชีวิต"

9. ทำบุญด้วยการ "แสดงธรรม แจกจ่ายธรรมทาน วิทยาทาน"

10. ทำบุญด้วยการ "มีสัมมาทัศนะ เชื่อกฏแห่งกรรม เชื่อตามหลักเหตุผล"





Monday, December 6, 2010

สถานีโทรทัศน์ธรรมะ Buddhist TV online

1) WBTV สถานีโทรทัศน์โลกพระพุทธศาสนา เฉลิมพระเกียรติ http://www.watyan.tv/resume
วัดยานนาวา  เขตสาทร กรุงเทพฯ  ขอเชิญฟังธรรมบรรยายในรายการ ธรรมปทีป โดยมีพระวิปัสสนาจารย์ เมตตามาบรรยายธรรม   ทุกวันเสาร์  เวลา ๑๖.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น.  (บ่าย 4 โมง - 5 โมงเย็น)  ณ วัดยานนาวา  ชั้น ๓ อาคารมหาเจษฏาบดินทร  มีการถ่ายทอดสดตลอดรายการ
 โดยดาวเทียม NSS 6 KU ความถี่ 11635 MHz SYMBOL RATE 27500 KSPS แนวการรับ H สามารถรับชมได้ทั่วประเทศไทย และประเทศในแถบเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง ไต้หวัน และตอนใต้ของประเทศจีน ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
พุทธศาสนิกชนที่ประสงค์จะร่วมเป็นเจ้าภาพ หรือ ถวายปัจจัย,  เครื่องไทยธรรม ตามกำลังศรัทธา
เครื่องไทยธรรม  สามารถถวายได้สถานที่บรรยายธรรม

สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั่งได้ที่

พระมหาวีรพล วีรญาโณ ผู้รับผิดชอบโครงการ โทร. 02-675-7134
คุณพันทิพา หลักเสลา ผู้ประสานงานโครงการ โทร. 081-919-7423 
ท่านสาธุชนสามารถร่วมเป็นเจ้าภาพสำหรับรายการธรรมบรรยายแต่ละรายการ ตามกำลังศรัทธา  โดยการโอนเข้าบัญชี


พุทธศาสนิกชนที่ประสงค์จะร่วมเป็นเจ้าภาพ หรือ ถวายปัจจัย,  เครื่องไทยธรรม ตามกำลังศรัทธา
เครื่องไทยธรรม  สามารถถวายได้สถานที่บรรยายธรรม

สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั่งได้ที่

พระมหาวีรพล วีรญาโณ ผู้รับผิดชอบโครงการ โทร. 02-675-7134
คุณพันทิพา หลักเสลา ผู้ประสานงานโครงการ โทร. 081-919-7423 
ท่านสาธุชนสามารถร่วมเป็นเจ้าภาพสำหรับรายการธรรมบรรยายแต่ละรายการ ตามกำลังศรัทธา  โดยการโอนเข้าบัญชี

“ วัดยานนาวา  ” ธนาคารกรุงเทพ จำกัด สาขาบางรัก ออมทรัพย์
หมายเลขบัญชี 2420311777
หรือ ที่สถานีโทรทัศน์ WBTV ” ธนาคารกรุงเทพ จำกัด สาขาบางรัก ออมทรัพย์
หมายเลขบัญชี 2420311777
หรือ ที่สถานีโทรทัศน์ WBTV

2) DDTV คลื่นวัฒนธรรม http://8875fm.com/?name=chartroom



ทำการส่งการจายคลื่นจากอาคารมูลนิธินวัตกรรมวัฒนธรรมศึกษา
ภายในวัดดวงแข แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร




 

-การปรับจูนเพื่อการรับชมสัญญาณภาพและเสียงจากช่อง DDTV  CFM 88.75 mhz
ช่อง DDTV  อยู่ในลำดับที่ 73
ท่านที่มีจานดาวเทียม PSI ในระบบ C- Band   ทุกยี่ห้อสามารถับชมได้แล้วในขณะนี้
รายฃะเอียดการรปรับจูนมีดังนี้
1.กด เมนู ใส่    password  1234  กด OK
2.ไปที่เมนู Transponder Setting  กด OK
3.ไปที่เมนู  Add   Transponder    กด OK
4. ใส่ค่าในตารางตามนี้ 
                                                                              Down Frequency   ใส่ค่า 03853          
                                                                                 Symporate  ใส่ค่า  05921
                                                                                 Polarity    ใส่ค่า  V
     นอกนั้นไม่ต้องเปลี่ยนแปรงค่าใด ๆ  ปล่อยใว้ตามค่าปกติ ไม่ต้องแก้ไขอะไรทั้งสิ้น
4.  กด OK     เพื่อเพิ่มช่อง DDTV  เท่านี้ท่านก็สามารถรับชมรายการธรรมะดี ๆ และเนื้อหาสาระธรรมต่าง ๆ  ได้แล้วหากสงสัย
หรือไม่เข้าใจ กรุณาติดต่อ คุณเค๊าเจอร์แดน 08-3180-2306   ในวันและเวลาทำการ

3) Luangta mms://202.44.53.229/live-sbt3?WMContentBitrate=256000
                   http://www.luangta.com/
4) สถานีโทรทัศน์พุทธภูมิ SBBTV วัดสังฆทาน

No comments: